การเมือง ของ สุรินทร์ พิศสุวรรณ

สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529 - 2531) ต่อมาได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535 - 2538[12] และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 ต่อมาสุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน โดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550[13]

ใกล้เคียง

สุรินทร์ สุรินทร์ พิศสุวรรณ สุรินทร์ มาศดิตถ์ สุรินทร์ ภาคศิริ สุรินทร์ ปาลาเร่ สุรินทร์ เทพกาญจนา สุรินทร์ เศรษฐมานิต สุรินทร์ เริงอารมณ์ สุรินทร์ ประสมผล สุรินทร์ กฤตยาพงศ์พันธุ์

แหล่งที่มา

WikiPedia: สุรินทร์ พิศสุวรรณ http://assaneepollajan.com/pdf/news/heritage2556.p... http://www.nationmultimedia.com/2007/06/19/headlin... http://www.komchadluek.net/news/detail/21751 http://asean.org/?static_post=secretary-general-of... http://www.humansecurity-chs.org/about/profile/sur... http://www.isdb.org/irj/go/km/docs/documents/IDBDe... http://patanisociety.org/?p=78 http://www.pr.tu.ac.th/pr/journal/month/0256.pdf http://www2.thairath.co.th/person/3987 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/D/...